การเจ็บเต้านมหลังคลอด

52484137

รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์

??????????????? การเจ็บเต้านมเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยหลังคลอด ส่วนใหญ่เกิดจากการเข้าเต้าไม่ดี นอกจากนี้ยังอาจเกิดจากการขยับนำหัวนมออกจากปากทารกหลังกินนมหรือการบีบหรือปั๊มนมที่ไม่เหมาะสม มีการติดเชื้อราที่เต้านม และทารกมีภาวะลิ้นติด ซึ่งนำไปสู่การหยุดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในระยะแรกหลังคลอด

 

ภาวะแทรกซ้อนของเต้านมหลังคลอด

milk expression3

รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์

??????????????? ภาวะแทรกซ้อนของเต้านมและหัวนม ได้แก่ การตึงคัดเต้านม การเจ็บหัวนม ท่อน้ำนมอุดตัน เต้านมอักเสบ และฝีที่เต้านม ซึ่งมารดาควรได้รับการสอนการปฏิบัติตัวและทราบถึงอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้เพื่อช่วยป้องกันและรีบมารับการรักษาที่ถูกต้องตั้งแต่ระยะแรกโดยสามารถให้นมแม่ได้อย่างต่อเนื่อง

 

 

การตรวจเต้านมของมารดาหลังคลอด

b1

รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์

??????????????? การตรวจเต้านมด้วยตนเอง มารดาหลังคลอดควรตรวจเต้านมทุกวันในขณะที่อาบน้ำ การตรวจเต้านมขณะมารดายังเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ควรให้นมให้เต้านมลดการคัดตึงลงก่อน หากมีประจำเดือนมาแล้ว ควรตรวจเต้านมในวันที่ 5-7 หลังมีประจำเดือน

มารดาหลังคลอดที่ให้นมลูก ควรกินอาหารอย่างไร?

obgyn5

รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์

??????????????? อาหารหลังคลอด มารดาสามารถรับประทานอาหารได้หลากหลายตามปกติ ควรรับประทานอาหารให้ครบห้าหมู่ โดยมารดาที่ให้นมลูกควรเพิ่มปริมาณอาหารวันละ 500 แคลอรี และควรรับประทานวิตามินเสริมเหมือนช่วงตั้งครรภ์จนกระทั่งหยุดให้นมลูก

การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของมารดาหลังคลอด

58887641

รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์

? ? ? ? ? ? ?หลังคลอดมารดาสามารถจะปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ โดยร่างกายของมารดาจะค่อยๆ กลับมาปกติทีละน้อย มารดาที่ผ่าตัดคลอดควรรอประมาณ 4-5 สัปดาห์หลังคลอดเพื่อให้ความแข็งแรงของแผลดีก่อนการออกกำลังกายหรือยกของหนัก ในมารดาที่คลอดปกติทางช่องคลอด การบริหารหน้าท้องสามารถจะบริหารได้เร็วประมาณ 1-2 สัปดาห์หลังคลอด

แหล่งความรู้ เกี่ยวกับสูติ-นรีเวช (Obstetrics-Gynecology)