คลังเก็บหมวดหมู่: case study

case study

ตัวอย่างที่ 1 ผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอด ตอนที่ 3

Problem list

  1. Pregnancy G1P0A0? ?GA 40weeks by LMP
  2. ANC risk: ????????????? -HbE trait

 

Discussion

 

จากการซักประวัติและตรวจร่างกาย ผู้ป่วยมีสุขภาพแข็งแรงดี ไม่มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ มี ANC risk คือ HbE trait จากผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการพบว่ามี OF positive, HbE26.2% และสามีได้ DCIP positive, HbE 25.8% แปลว่าทั้งผู้ป่วยและสามีเป็น HbE trait ทั้งคู่ แต่ว่าในผู้ป่วยรายนี้จะถือว่าไม่มีความเสี่ยงเนื่องจาก HbE trait ที่ไม่ได้พบร่วมกับ b thalassemia นั้นถือว่าไม่ได้เป็นปัญหา และไม่พบว่าผู้ป่วยมีการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ แต่ระหว่างการตั้งครรภ์ผู้ป่วยมีน้ำหนักขึ้น 23 kg ซึ่งถือว่าเยอะเกินไปสำหรับผู้ป่วยท่ีมี BMI อยู่ในเกณฑ์ปกติ ผู้ป่วยมาฝากครรภ์สม่ำเสมอทั้งหมด 12 ครั้ง ในสัปดาห์ที่ 35 ผู้ป่วยมีน้ำไหลออกมาทางช่องคลอด แต่หลังจากที่ทำการตรวจแล้ว ผู้ป่วยไม่ได้มีน้ำเดินจริง หลังจากนั้นในสัปดาห์ที่ 39 ผู้ป่วยมาด้วยอาการเจ็บครรภ์ถี่มากขึ้น และมีมูกเลือดออกมาทางช่องคลอด แพทย์ได้ตรวจภายในพบว่ามี cervical dilatation 2 cm, effacement 100%, station0 มีเจ็บครรภ์อยู่เป็นพักๆ จึงรับผู้ป่วยให้นอนโรงพยาบาล

 

 

Lab Investigation

?

  1. EFM

ผล: ???????? – good quality

-??? FHR baseline 140 bpm

-??? Paper rate 1 cm/min

-??? Moderate variability

-??? Present acceleration

-??? Absent deceleration

-??? Uterine contraction: duration 1 min, interval 3 min, moderate to marked intensity

-??? CATEGORY I

 

 

วิจารณ์ partograph

?

  1. First stage of labor

แบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ latent phase และ ?active phase ซึ่ง

 

1.1??????????????? Latent phase

คือช่วงตั้งแต่เริ่มเจ็บครรภ์จริงถึงช่วงที่ปากมดลูกเปิด 3 ซม. และมี effacement อย่างน้อย 80% โดยควรจะมีระยะเวลาไม่เกิน 8 ชั่วโมง

แรกรับ PV: cervical dilatation 2 cm, effacement 100% ,station 0, position anterior, consistency soft มี uterine contraction ทุก 4 นาที นาน 50 วินาที จึงได้ให้ผู้ป่วย admit เพื่อ observe progression of labor และให้ pethidine 20mg iv

หลังจากผ่านไป 4 ชั่วโมง ผู้ป่วยยังมีอาการเจ็บครรภ์เท่าๆเดิม มี uterine contraction duration ห่างมากขึ้นเรื่อยๆ ได้ทำการ PV ซ้ำ พบว่า cervical dilatation คือ 2 cm เท่าเดิม, effacement 100%, station o จึงให้ observe progression of labor ต่อไป

 

หลังจากเฝ้าดูอาการไปอีก 8 ชั่วโมง ได้ PV ซ้ำ? cervical dilatation 5cm, effacement 80%, station 0 ,MR มี uterine contraction ทุก 6 นาที นาน 50 วินาที ได้ให้ 5%D/N/2 1000 ml + syntocinon 10 unit iv 20ml/hr และให้ on EFM ไว้

 

ดังนั้นถ้านับระยะเวลาตั้งแต่ผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอดจนถึงเวลาที่ปาก มดลูกเปิดเกิน 3 ซม. กินระยะเวลาไปทั้งหมด 12 ชั่วโมงจึงถือว่าผู้ป่วยมี prolonged latent phase แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นการ PV ของผู้ป่วยในช่วง latent phase ควรจะได้รับการ PV ทุก 4 ชั่วโมง แต่ผู้ป่วยรายนี้เว้นช่วงการ PV ไปถึง 8 ชั่วโมง จึงคิดว่าจริงๆแล้วผู้ป่วยอาจจะมี cervical dilatation > 3 cm เร็วกว่าเวลาที่บันทึกไว้

 

การดูแล

-????????? NPO

-????????? 5%D/N/2 1000 ml + syntocinon 10 unit iv rate 20ml/hr เพื่อให้มีการหดรัดตัวของมดลูก

-????????? บันทึกการหดรัดตัวของมดลูก โดยดู interval, duration, intensity

-????????? on EFM เพื่อดูสุขภาพของทารก ควรจะให้มี FHR อยู่ระหว่าง 110-160bpm คอยฟังเสียงหัวใจของทารกทุก 30 นาที

 

1.2??????????????? Active phase

คือช่วงที่ปากมดลูกเปิด 3 ซม.ขึ้นไป และมี effacement 100% ปากมดลูกต้องเปิดด้วยอัตราเร็วไม่ต่ำกว่า 1.2 ซม. ต่อชั่วโมงสำหรับครรภ์แรก

 

หลังจากผ่านช่วง active phase ไป 3 ชั่วโมงได้ PV ซ้ำ พบว่า cervical dilatation 8 cm, effacement 100%, station 0, MR มี uterine contraction ทุก 2 นาที นาน 45 วินาที เป็น mark intensity คนไข้ปัสสาวะไม่ออกจึงให้ intermittent cath

 

ผ่านไปอีก 1 ชั่วโมง PV ได้ cervical dilatation 9 cm, effacement 100%, station+1, ML มี uterine contraction ทุก 2 นาที duration 40 วินาที mark intensity พบยังมีถุงน้ำคร่ำติดหัวทารกอยู่จึงรอ observe

 

อีกครึ่งชั่วโมงต่อ ปากมดลูกของผู้ป่วยเปิดเต็มที่ station+1 จึงย้ายผู้ป่วยเข้าห้องคลอด

 

การดูแล:

-????????????????????? observe vital signs

-????????????????????? record uterine contration

-????????????????????? on EFM

-????????????????????? สังเกตุดูน้ำคร่ำ

-????????????????????? ไม่ควรให้มีกระเพาะปัสสาวะโป่งพอง ผู้ป่วยรายนี้จึงได้ทำการ intermittent cath เนื่องจากผู้ป่วยปัสสาวะไม่ออก

 

  1. Second stage of labor

คือระยะหลังจากที่ปากมดลูกเปิดเต็มที่จนถึงตอนที่ทารกคลอด

-????????? ผู้ป่วยเริ่มเบ่งคลอดเวลา 12.00 น. ทารกคลอดเวลา 12.44 น.

-????????? คลอดปกติ

-????????? ฝีเย็บขาดตำแหน่ง right mediolateral, second degree tear

-????????? estimated blood loss 200 ml

การดูแลในระยะนี้จะ นิยมตัดฝีเย็บหรือ episiotomy เพราะแผลจะเย็บซ่อมได้ง่ายกว่า และ ช่วยลดอันตรายต่อสมองเด็กจาก การที่หัวเด็กถูกกดทับบริเวณปากช่องคลอด

 

  1. Third stage of labor

คือระยะตั้งแต่ทารกคลอดจนถึงรกคลอดออกมา

-????????? คลอดออกมาเป็น ทารกเพศหญิง น้ำหนัก 2500 กรัม Apgar8,10,10 หักสี1 ร้อง 1

-????????? หลังคลอดได้ให้ syntocinon 10 unit ใน iv เดิม rate 120 ml/hr

-????????? รกคลอดเวลา 12.50 น. หลังคลอดรกให้ methergin 0.2 mg iv

-????????? vital signs หลังคลอด BP100/67 mmHg, RR 24/min PR 120bpm

-????????? มดลูกหดรัดตัว 3 FB below umbilicus

 

การดูแล:

-? ให้ syntocinon และ methergin เพื่อให้มดลกบีบตัวได้ดี ช่วยป้องกัน postpartum hemorrhage

 

Post-op order for normal labor

-????????? routine post-partum care

-????????? 5%D/N/2 1000 ml + synto 20 unit iv drip 120 ml/hr

-????????? methergin 0.2 mg iv หลังรกคลอด

-????????? observe vaginal bleeding

-????????? observe voiding if cant void in 6 hour please notify

-????????? Paracetamol(500) 2 tabs po prn q4-6 hr

-????????? FF 1×1 po pc

ตัวอย่างที่ 1 ผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอด ตอนที่ 2

แปลผลบันทึกการตรวจครรภ์

-????????? มารดามาตามนัดดี

-????????? no date-size discrepancy โดยดูจากการประเมินยอดมดลูกกับอายุครรภ์จาก ultrasound

-????????? Fetal heart sound ปกติ

-????????? ลูกดิ้นดี

-????????? น้ำหนักขึ้นมาทั้งหมด 23 kg ซึ่งถือว่าเยอะเกินถ้าเทียบกับผู้ป่วยที่มีBMI<26 ควรจะมีน้ำหนักขึ้น 11.5-16 kg

-????????? ไม่พบ protein และ sugar ในปัสสาวะ

-????????? ไม่มีขาบวม

-????????? ไม่ได้ระบุว่าได้รับ tetanus toxoid หรือไม่

-????????? ได้รับแร่ธาตุเสริมคือ folic acid(5mg) คิดเป็น 300 mg, ferrous fumarate(300mg) มีเหล็ก 30% คิดเป็น 60 mg โดยทั่วไปแล้วหญิงตั้งครรภ์ควรจะไดรับธาตุเหล็กทั้งหมด 1000 mg ตลอดการตั้งครรภ์ แต่ในผู้ป่วยรายนี้ไม่ทราบว่าได้ทาFFไปเป็นปริมาณเท่าไร จึงไม่สามารถประเมินได้ว่าผู้ป่วยได้ธาตุเหล็กเพียงพอหรือไม่

 

 

Systemic Review:

อาการทั่วไป:????? ไม่มีไข้ ไม่ปวดศีรษะ ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีน้ำหนักลด ไม่เจ็บครรภ์

ผิวหนังและเส้นผม: ไม่มีตัวเหลืองตาเหลือง ไม่มีอาการคันตามผิวหนัง ไม่มีจุดเลือดออกตามตัว หรือเลือดออกตามไรฟัน ไม่มีแผลที่ผิวหนังตามตัว

ศีรษะและคอ:???? ไม่มีอาการหน้ามืด เวียนหัวหรือ บ้านหมุน

ตา:????????????????????? ไม่มีตาเหลือง ไม่มีตาอักเสบ ตาแห้ง หรือขี้ตามากกว่าปกติ ไม่มีอาการเห็น ภาพซ้อน

หู:???????????????????????? ไม่มีปวดหู ไม่มีหูน้ำหนวก

จมูก:??????????????????? ได้กลิ่นปกติ ไม่มีคัดจมูกหรือน้ำมูกไหล ไม่มีเลือดกำเดาไหล

ปากและคอ:?????? ไม่เจ็บคอ ไม่มีเสมหะ ไม่มีเสียงแหบ ไม่มีแผลในช่องปากหรือที่ลิ้น ไม่มีเลือกออกตามไรฟัน ไม่มีกลืนเจ็บหรือกลืนลำบาก

ระบบไหลเวียนโลหิต: ปฏิเสธประวัติโรคหัวใจ ไม่มีอาการแน่นหน้าอก ไม่มีอาการหน้ามืดใจสั่น

ระบบทางเดินหายใจ: ไม่มีอาการเหนื่อยหอบ ไม่มีอาการหายใจติดขัด ไม่มีเสียงวี๊ดเวลาหายใจ พูดตอบได้เป็นประโยค

ระบบทางเดินอาหาร: ไม่มีอาการปวดท้อง อุจจาระได้ปกติ ไม่มีถ่ายเป็นมูกเลือด

ระบบทางเดินปัสสาวะ: ปัสสาวะปกติ ไม่มีปัสสาวะขัด หรือสีขุ่น ไม่มีปัสสาวะเป็นเลือด ไม่มีปัสสาวะเป็นฟอง

ระบบสืบพันธุ์:?? ตั้งครรภ์ 40 สัปดาห์ ไม่มีเจ็บครรภ์ ลูกดิ้นดี มากกว่า 10 ครั้งต่อวัน ไม่มีเลือดออกทางช่องคลอด ไม่มีน้ำเดิน

ระบบประสาท:? ไม่มีแขนขาอ่อนแรง ไม่มีชาตามปลายมือปลายเท้า ไม่มีอาการมือเท้าชาหรือสั่น ไม่มีประวัติโรคลมชัก ไม่มีปากเบี้ยวหรือหนังตาตก

ระบบโลหิต:?????? ไม่มีจ้ำเลือดผิดปกติขึ้นตามร่างกาย ไม่ซีด ไม่มีประวัติเลือดออกง่ายหยุดยาก ไม่มีประวัติมะเร็งเม็ดเลือด

ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ: ?????????????? ไม่มีประวัติกล้ามเนื้ออ่อนแรง ไม่มีข้อต่อผิดรูป เคลื่อนไหวได้ตามปกติ

ระบบจิตเวช:????? ไม่มีอาการหูแว่ว ประสาทหลอน หรืออาการซึมเศร้า

 

Physical Examination:

 

Vital Signs: BT: 36.5C, BP: 135/88 mmHg, RR: 24/min, PR: 78 bpm

General Appearance: A Thai pregnant female, alert, not pale, no jaundice, looks well, alert

HEENT: not pale conjunctivae, anicteric sclera, thyroid gland not enlarged, trachea midline

Heart: no active precordium, normal S1S2, no murmur

Lungs: good air entry, equal breath sound both sides, clear breath sound, no adventitious sounds

Abdomen: distended, normoactive bowel sound, FH 36 cm, FM +ve, FHS +ve, vertex presentation, no uterine contraction

Extremities: no pitting edema, capillary refill <2 seconds

Neurologic Examination: intact all

 

ตัวอย่างที่ 1 ผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอด ตอนที่ 1

ชื่อผู้ป่วย น.ส. พ.ม.? อายุ 29 ปี

เชื้อชาติไทย?? สัญชาติไทย?? ศาสนาพุทธ? ภูมิลำเนา นครนายก

อาชีพ รับจ้าง???????????????????????? สิทธิการรักษา ประกันสังคม

วันที่รับเข้าไว้ในโรงพยาบาล 19 มกราคม 2555

วันที่รับเข้าไว้ในความดูแล??? 19 มกราคม 2555

ประวัติได้จาก ผู้ป่วยและเวชระเบียน เชื่อถือได้

 

Case: ผู้ป่วยหญิงตั้งครรภ์ไทย อายุ 29 ปี G1P0A0????

 

Chief complaint: เจ็บครรภ์ถี่มากขึ้น 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล

 

Present illness:

– 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยเริ่มมีมูกเลือดออกจากช่องคลอด ไม่มีน้ำเดิน มีปวดท้อง ท้องแข็งเป็นไม่สม่ำเสมอ มาโรงพยาบาล ตรวจร่างกายพบว่า PV: os closed, NST: reactive จึงให้คนไข้กลับบ้าน

– 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีปวดท้องบีบๆ ร้าวลงขาหนีบ ปวดสม่ำเสมอกัน ทุก 2-3 นาที นานประมาณ 1 นาที ไม่มีน้ำเดิน ลูกดิ้นดี ไม่มีเลือดออกทางช่องคลอด

 

Past history:

-????????? ไม่มีโรคประจำตัว

-????????? ผู้ป่วยปฎิเสธประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร

-????????? ปฎิเสธประวัติอุบัติเหตุร้ายแรงจนต้องเข้าโรงพยาบาล

-????????? ปฎิเสธประวัติการใช้ยาหม้อ ยาลูกกลอน ยาสมุนไพร

-????????? ปฎิเสธประวัติการรับเลือดก่อนหน้านี้

 

OB-GYN history

– G2P1A0?? GA 40 weeks by LMP

– LMP 12/4/55 EDC 19/1/56

– ในครั้งนี้ ANC ที่รพ.ชุมชน 10 ครั้ง มาตามนัดทุกครั้ง ครั้งแรกตอน GA 9 weeks by LMP

– ANC risk : ตัวผู้ป่วยและสามีเป็น HbE trait

 

ANC lab investigation

-????????? Blood group O

-????????? Hb 12, Hct 34, MCV 85.9, DCIP negative, OF positive, Hb typing: HbE26.2%

-????????? สามี: Hb 15, Hct 48, MCV79.4, DCIP positive, OF negative, Hb typing: HbE 25.8%

-????????? Serology: VDRL non reactive

Anti-HIV non reactive

HbsAg negative

– Body weight ก่อนตั้งครรภ์ 47 kg?? Height 150 cm?? BMI 20.8

total weight gain = 23 kg

– previous contraception : –

 

ประวัติส่วนตัว

-ปฎิเสธประวัติการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา

– แต่งงานตอนอายุ 24 ปี

 

ประวัติครอบครัว

-????????? มารดาเป็น hypertension

-????????? ปฎิเสธโรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม

-????????? ปฎิเสธโรคมะเร็งในครอบครัว

 

 

บันทึกการตรวจครรภ์

 

Date

GA(wk)

Presentation

FHS

FM

Weight

BP (mmHg)

Urine Protein/? sugar

Abnormal symptom

edema

Fundal height

treatment

18/6/55

9 wk by LMP

47

110/70

Neg/neg

ไม่มีเวียน ศีรษะ ไม่มีอาเจียน

Not palpable

Lab 1st ANC

27/6/55

10 wk by LMP

??? –  

Neg/neg

ไม่มีเวียน ศีรษะ ไม่มีอาเจียน

FF 1×1, Folic acid 1×1

30/7/55

15 wk by LMP

+

50

100/80

ปกติดี

2/3>SP

3/9/55

20 wk by LMP

Breech from u/s

+

55

100/60

Neg/neg

ปกติดี

Just below umbilicus

FF1x1, Folic acid 1×1

27/9/55

28 wk by LMP

LA,HF

+

140

+

62

120/70

Neg/neg

มีชามือ2ข้าง

2/4>umbilicus

FF 1×1

50g GCT: 102

26/11/55

32 wk by LMP

LA,HF

+

140

+

64

110/80

Neg/neg

ปกติดี

? above umbilicus, 32 cm

17/12/55

35 wk by LMP

LA,HF

+

144

+

67

110/60

Neg/neg

ปกติดี

38 cm

TAS: vertex, no placenta previa

18/12/55

35 wk by LMP

cephalic

+

140

+

110/70

Neg/neg

ไม่มีมูกเลือด ไม่มีตกขาว

34cm

มีน้ำไหล ออกจาก ช่องคลอด ,cough test: negative, PV: os closed , no effacement, NST reactive

7/1/56

38 wk by LMP

LA,HF

+

144

+

69

110/60

Neg/neg

ปกติดี

38cm

calcium

14/1/56

39 wk by LMP

LA,HF

+

144

+

70

110/70

Neg/neg

38 cm

 

17/1/56

39 wk by LMP

+

130

+

70

135/86

Neg/neg

มีอาการเจ็บครรภ์ทุก 5 นาที, PV: os closed, NST reactive, discharge ได้ advice ถ้ามีอาการ เจ็บครรภ์ มากขึ้น+น้ำเดิน ให้มาร.พ.

Ultrasonography report

 

Date 3/9/55 17/12/55
อายุครรภ์    
Presentation Breech Vertex
Crown rump length
Biparietal diameter    
Head circumference    
Abdominal circumference    
Femur length    
Fetal heart sound Positive Positive
Fetal movement Positive Positive
Sex    
Amniotic fluid    
Fetal anomaly Not seen Not seen
Placental grading    
Placental location Anterior middle  

 

รายงานผู้ป่วย gestational hypertension ตอนที่ 3

Comment

ในผู้ป่วยรายนี้อาจจะเป็น gestational hypertension แต่จะต้องมีการซักประวัติและตรวจร่างกายให้ละเอียดเพื่อแยกโรคเรื่อง pregnancy induced hypertension ในการตรวจร่างกายต้องมีการตรวจตา ตรวจ eyeground ตรวจหน้าท้องคลำตับ เคาะ liver span เคาะ deep tendon reflex เพื่อ rule out เรื่อง preeclampsia และการวางแผนยุติการตั้งครรภ์หากเป็น gestational hypertension ขณะอายุ 37 สัปดาห์ยังไม่จำเป็นรีบ admission โดยเฉพาะหากปากมดลูกยังไม่พร้อม

ข้อคิดเพิ่มเติม ควรให้คำวินิจฉัยให้ชัดเจนหลังการเขียนปัญหา และควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องผู้ป่วยรายนี้ต้องระมัดระวัง หากเป็นหอบหืดต้องหลีกเลี่ยงการใช้ยาอะไรบ้างในระหว่างการคลอดและหลังคลอด

รายงานผู้ป่วย gestational hypertension ตอนที่ 2

Problem list

  1. Pregnancy G2P1A0? ?GA37weeks by LMP
  2. Pregnancy induced hypertension ruled out preeclampsia
  3. ANC risk: ????????????? -advanced maternal age

-Potential DM

 

 

Discussion

 

ผู้ป่วยรายนี้มาฝากครรภ์ตามนัดแต่พบว่ามีความดันโลหิตสูงกว่า 140/90 mmHg ทำให้นึกถึงภาวะ pregnancy induced hypertension ซึ่งจะนึกถึง 4 ภาวะต่อไปนี้คือ Gestational hypertension, Preeclampsia, Eclampsia, Chronic hypertension

ก่อนอื่นจะขอกล่าวถึงทั้ง 4 ภาวะก่อนอย่างคร่าวๆ

Gestational hypertension คือ การที่ผู้ป่วยมี systolic BP>140 หรือ diastolic>90 mmHg ซึ่งพบครั้งแรกตอนที่ตั้งครรภ์ ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ และไม่พบ proteinuria

Preeclampsia และ eclampsia คือการที่ผู้ป่วยมี systolic BP>140 หรือ diastolic>90 mmHg ในตอนที่มีอายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ และมีโปรตีนในปัสสาวะ 300 mg ต่อวัน ในส่วนของ eclampsia คือ preeclampsia ที่มีอาการชักเกิดขึ้น

Chornic hypertension คือการที่มีควาามดัน ? 140/90 mmHg ซึ่งตรวจพบ ก่อนการตั้งครรภ์หรือก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์

จากทั้งหมด 4 ภาวะนี้นึกถึง gestational hypertension มากที่สุดเนื่องจากผู้ป่วย พบว่ามีความดันโลหิตสูงตอนอายุครรภ์ที่ 33 สัปดาห์ โดยที่ไม่เคยมีความดันโลหิตสูงมาก่อน หน้านี้ และไม่พบว่ามี protein ในปัสสาวะ ร่วมกับผู้ป่วยไม่มีอาการของ preeclampsia เช่น ปวดศีรษะอย่างต่อเนื่อง หรือมีอาการตาพร่ามัว ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ทำให้คิดว่าการที่ผู้ป่วย มีความดันโลหิตสูงในครั้งนี้น่าจะเกิดจาก gestational hypertension มากที่สุด โดยผู้ป่วยรายนี้มีปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้เกิดความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์คือ มีอายุที่มาก และมี BMI ที่ค่อนไปทางสูง เป็นตัวส่งเสริมให้เกิด pregnancy induced hypertension

 

สำหรับ ANC risk อื่นๆของผู้ป่วยมีดังนี้

-????????? Potential DM: ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิด gestational DM เนื่องจากมีประวัติคนในครอบครัวสายตรงเป็นเบาหวาน และมีBMIค่อนข้างสูง จึงได้ส่งตรวจ??? 50 g GCT และ 100 g OGTT ซึ่งผลออกมาปกติทั้งสองครั้ง จึงสรุปได้ว่าผู้ป่วยไม่เป็น gestational DM

-????????? Advanced maternal age

  • มีโอกาสเสี่ยงสูงที่ลูกจะเป็น down syndrome โดยเฉพาะในคนที่อายุมากกว่า 35 ปี ซึ่งผู้ป่วยควรจะได้รับการตรวจคัดกรอง เช่น ตรวจคัดกรองโดยใช้ serum marker หรือการตรวจวินิจฉัยโดยการทำ aminocentesis แต่ผู้ป่วยปฎิเสธที่จะเข้ารับการตรวจ
  • มีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะเกิด gestational DM อย่างที่ได้กล่าวไปแล้ว
  • มีโอกาสทีจะเกิด pregnancy induced hypertension เหมือนอย่างที่เกิดในผู้ป่วยรายนี้
  • ความเสี่ยงอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นได้เช่น placenta previa และโอกาสที่จะได้ลูกแฝด

 

Lab Investigation

  1. Urine analysis 😕 เพื่อดูว่ามี protein ในปัสสาวะหรือไม่ และดูว่ามีการติดเชื้อในปัสสาวะ หรือไม่
  2. NST: เพื่อติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์

 

ผล Lab investigation

 

  1. UA

Color????????????????????????????????????????????????????? yellow

Transparency?????????????????????? clear

Specific gravity??????????????????? 1.010

pH????????????????????????????????????????????????????????? 7.0

Leukocytes?????????????????????????????????????????? negative

Nitrie????????????????????????????????????????????????????? negative

Protein?????????????????????????????????? negative

Glucose??????????????????????????????????????????????? negative

Ketone?????????????????????????????????? negative

Urobilinogen??????????????????????????????????????? negative

Bilirubin???????????????????????????????? negative

Erythrocytes????????????????????????????????????????? negative

WBC?????????????????????????????????????????????????????? 0-1/HPF

RBC??????????????????????????????????????????????????????? 0-1/HPF

Epithelial cells???????????????????? 0-1/HPF

Urine bact???????????????????????????????????????????? few

 

แปลผล: – ไม่พบว่ามี proteinuria ช่วยยืนยันว่าผู้ป่วยไม่ได้เป็น preeclampsia จริง

– ไม่พบการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ

 

 

  1. NST

Speed 1cm/min

FHR baseline = 140 bpm

Moderate variability

Presence of acceleration

No deceleration

Category I

 

แปลผล: reactive NST เด็กยังปกติดี

 

Discussion II

จากผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการไม่พบว่ามี proteinuria ร่วมกับการที่ผู้ป่วยมี ความดันโลหิตสูงมากกว่า 140/90 mmHg ตอนที่มีอายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ ทำให้นึกถึงภาวะ gestational hypertension มากที่สุด

 

 

 

 

Management

 

ผู้ป่วยรายนี้เป็น mild gestational hypertension เนื่องจากมีความดันโลหิตอยู่ ระหว่าง140/90-149/99 mmHg สำหรับการดูแลผู้ป่วยประเภทนี้มีดังนี้

  1. เมื่อตรวจพบว่าผู้ป่วยเป็น mild gestational hypertension จะยังไม่มีความจำเป็นที่จะต้องให้ผู้ป่วยนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล สามารถดูแลผู้ป่วยเป็นเคส OPD ได้
  2. ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาลดความดันโลหิต
  3. ควรจะได้รับการวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 1 ครั้งต่ออาทิตย์
  4. ในทุกครั้งที่ผู้ป่วยมา ANC ต้องให้ผู้ป่วยตรวจ urine protein
  5. routine blood test for ANC

 

การรักษาที่สำคัญอีกอย่างของ gestational hypertension คือการเฝ้าระวังไม่ให้ ผู้ป่วยเกิดภาวะ preeclampsia เนื่องจากมีรายงานว่า 15-25% ของผู้ป่วยที่ตอนแรกได้รับการวินิจัยว่าเป็น gestational hypertension ต่อมาจะกลายมาเป็น preeclampsia โดยการเฝ้าระวังสามารถทำได้โดยการสังเกตุ อาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นบริเวณลิ้นปี่ และการตรวจดู urine protein

 

ผู้ป่วยรายนี้ได้รับการวินิจฉัยว่ามีความดันโลหิตสูงตอนอายุครรภ์ที่ 33 สัปดาห์ ไม่ได้รับยา antihypertensive drug ใดๆ และได้รับการตรวจ urine protein ทุกครั้งที่มา ANC อาการของผู้ป่วยปกติดี ไม่มีอาการปวดศีรษะ ไม่มีตาพร่ามัว ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ จนเมื่อผู้ป่วยรายนี้ อายุครรภ์ได้ 37 สัปดาห์ และยังมีความดันโลหิต สูงเกิน 140/90 mmHg อยู่ ซึ่งจากรายงานพบว่าถ้ายังปล่อย? ให้ผู้ป่วยตั้งครรภ์ต่อไป จะทำไปเพิ่มความเสี่ยงในการเกิด preeclampsia ได้ ในผู้ป่วยรายนี้จึงได้ทำการ induction โดยadmit ผู้ป่วย มาให้ oxytocin เพื่อเป็นการชักนำให้คลอด

 

การรักษาที่ผู้ป่วยรายนี้ได้รับ

  1. 5%D/N/2 1000ml+synto 10 unit 10ml/hr
  2. record vital signs q 4 hr if BP>160/110 mmHg please notify
  3. NPO
  4. EFM 20 min
  5. Observe progression of labor
  6. Amniotomy

 

Patient education

แจ้งให้ผู้ป่วยทราบว่าผู้ป่วยเป็นอะไร มีความเสี่ยงอย่างไร และมีแผนการรักษาอย่างไร

 

 

Progress note 15/1/55

Case: ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 38 ปี G2P1A0 GA38wk by u/s

 

S: ผู้ป่วยคลอดไปเมื่อเวลา 16.38 น. ลักษณะแผลเป็น second degree tear episiotomy น้ำหนักแรกคลอด 2830 g ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีไข้ น้ำนมยังไม่ไหล ไม่มีคัดตึงเต้านม ยังเจ็บแผลผ่าตัดอยู่

 

O: V/S BT37.2c BP140/100 mmHg RR22/min PR 90bpm

GA: a thai female, good consciousness

HEENT: not pale conjunctiva, anicteric sclera

Heart: normal S1S2, no murmur

Lungs: normal breath sound, no adventitious sound

Abdomen: soft, not tender, normoactive bowel sound

 

 

A: ยังมีปวดที่บริเวณแผลผ่าตัดอยู่ ยังมีเลือดซึมที่บริเวณแผล

 

P: ?????????? – observe bleeding per vagina

– observe voiding in 6 hours

– 5%D/N/2 1000 ml + synto 20 unit iv drip 120 ml/hr

– ยาแก้ปวดในโครงการวิจัยเบอร์ 1 po q 6 hour

– FF(200) 1×1 po pc

– observe BP if > 160/100 please notify

 

16/1/56 progress note

Case: ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 38 ปี G2P1A0 GA38wk by u/s

 

S: ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ยังมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เมื่อคืนนอนไม่หลับ ไม่มีไข้? ปัสสาวะออกดี ไม่มีปัสสาวแสบขัด น้ำนมไหลปกติ ยังมีน้ำคาวปลาสีแดงสด ไม่มีกลิ่นเหม็น เปลี่ยนผ้าไป 3 ผืนชุ่ม แผลช่องคลอดมีเลือดซึม เจ็บแผลเวลาขยับตัว ลูกอาการปกติ แข็งแรงดี

 

O: V/S BT37.2c BP140/100 mmHg RR22/min PR 90bpm

GA: a thai female, good consciousness

HEENT: not pale conjunctiva, anicteric sclera

Heart: normal S1S2, no murmur

Lungs: normal breath sound, no adventitious sound

Abdomen: soft, not tender, normoactive bowel sound, FH 2/3 above suprapubic

 

A: ยังมีเจ็บบริเวณแผลผ่าตัดเวลาขยับตัว มีน้ำคาวปลาสีแดงสด ไม่เหม็น เปลี่ยนผ้าไป 3 ผืนชุ่ม

 

P: ?????????? – observe vaginal bleeding

– observe BP

– regular diet

– plan discharge ถ้าไม่มี active bleed

– Medication:

Paracetamol (500) 2 tab po prn for pain q 6 hr

FF(200) 1×1 po pc