รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์
แผนภาพแรกเป็นแนวทางในการซักประวัติและตรวจร่างกายในมารดาที่มีปัญหาเจ็บหัวนมหลังคลอด
แผนภาพที่สองเป็นแนวทางในการวินิจฉัยสาเหตุที่พบบ่อยของการเจ็บหัวนมของมารดา
ทารกแรกเกิด
รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์
แผนภาพแรกเป็นแนวทางในการซักประวัติและตรวจร่างกายในมารดาที่มีปัญหาเจ็บหัวนมหลังคลอด
แผนภาพที่สองเป็นแนวทางในการวินิจฉัยสาเหตุที่พบบ่อยของการเจ็บหัวนมของมารดา
รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์
ข้อควรระวังในระหว่างการดูแลรักษาการเจ็บหัวนม ได้แก่
เอกสารอ้างอิง
9. Morland-Schultz K, Hill PD. Prevention of and therapies for nipple pain: a systematic review. J Obstet Gynecol Neonatal Nurs 2005;34:428-37.
22. McClellan HL, Hepworth AR, Kent JC, et al. Breastfeeding frequency, milk volume, and duration in mother-infant dyads with persistent nipple pain. Breastfeed Med 2012;7:275-81.
รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษฺ์
วิธีการปฏิบัติที่จะช่วยลดอาการเจ็บหัวนม ทำให้มารดารู้สึกสบายขึ้นขณะทำการแก้ไขสาเหตุหลัก และหัวนมที่เจ็บกำลังจะหาย ได้แก่
รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์
สาเหตุจากผิวหนังอักเสบ หรือเป็นโรคอื่นบริเวณผิวหนัง การรักษาควรตามแต่ละสาเหตุ โดยหากสาเหตุเป็นจากการแพ้ การรักษาทำโดยใช้ยาทาเฉพาะที่ที่มีตัวยาสเตียรอยด์ แต่ควรเช็ดยาทาออกจากหัวนมโดยใช้น้ำมันมะกอกหรือน้ำมันมะพร้าวก่อนให้ทารกกินนม และควรทายาซ้ำหลังจากทารกกินนมเสร็จแล้ว ไม่ควรล้างยาออกด้วยน้ำสบู่ เพราะอาจทำให้ผิวหนังบริเวณหัวนมแห้ง และอาจมีการเจ็บหัวนมได้เมื่อมีการเสียดสีในระหว่างที่ทารกดูดนม
รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์
Raynaud’s phenomenon การรักษาควรหลีกเลี่ยงภาวะที่หัวนมจะสัมผัสกับอากาศเย็น หรือดื่มกาแฟหรือสูบบุหรี่ที่จะทำให้เกิดการหดตัวของเส้นเลือด และพยายามช่วยให้หัวนมอบอุ่นตลอดเวลา โดยเช็ดบริเวณหัวนมให้แห้งหลังทารกกินนม และใช้ผ้าที่ใช้ประคบร้อนช่วยประคบบริเวณหัวนมหลังทารกกินนมทันที หลังจากนั้นแนะนำให้มารดาใส่เสื้อชั้นใน และสวมเสื้อผ้าที่จะช่วยให้บริเวณหัวนมอบอุ่น สำหรับมารดาที่มีอาการรุนแรง การใช้ nifedipine ชนิดรับประทานสามารถใช้ได้โดยไม่เกิดอันตรายแก่ทารกที่กินนมแม่21
เอกสารอ้างอิง
21. Anderson JE, Held N, Wright K. Raynaud’s phenomenon of the nipple: a treatable cause of painful breastfeeding. Pediatrics 2004;113:e360-4.